aaa
 
หน้าแรก | ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมงานบุญ | ติดต่อกับผู้ผลิต | 
ค้นหาผลิตภัณฑ์  
 
 
 
 
 
 
เครื่องดื่มชนิดผงพร้อมชง
และเครื่องดื่มชนิดน้ำพร้อมดื่ม
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ทั้งชนิดน้ำพร้อมดื่ม และชนิดแคปซูล บรรจุแผง / ขวด
 
 
 
 
 
ข้าวกล้องเพาะงอกเบญจกระยาทิพย์
ที่มาของกาแฟ
กระดูกอ่อนฉลามและคอลลาเจน
ที่มาของรังนก
INS 401 คืออะไร
คารายากัม คืออะไร
งานวิจัยซุปไก่สกัด
กลูตาไธโอนคืออะไร
ความเป็นมาของกำลังช้างสาร
สรรพคุณของโชวู
Coenzyme Q10 คืออะไร
โสมกับสุขภาพ
ประโยชน์ของตังถั่งเช่า
สรรพคุณของจับเลี้ยง
ความเป็นมาของทุเรียน
ความเป็นมาของเห็ดหลินจือ
ความเป็นมาของเห็ดไมตาเกะ
ความเป็นมาของตังกุย
ประโยชน์ของเห็ดจีซง
ถาม - ตอบ เรื่องเอนไซม์
ประวัติของโรคเบาหวาน
ความเป็นมาของน้ำมันมะพร้าว
ประโยชน์ของเขากวางอ่อน
ประโยชน์ของผลส้มแขก
ประโยชน์ของจันทน์เทศ
ประโยชน์ของชาใบหม่อน
คุณค่าของมะรุม
ความเป็นมาของผลหม่อน
ประโยชน์ของเมล็ดองุ่นแดง
สรรพคุณของดอกคำฝอย
สรรพคุณของไข่มุก
สรรพคุณของโกฐหัวบัว
สรรพคุณของโกฐเขมา
สรรพคุณของอึ้งคี้หรือปักคี้
สรรพคุณของกำลังวัวเถลิง
สรรพคุณของกำลังหนุมาน
สรรพคุณของกระชายดำ
สรรพคุณของแปะก๊วย
ประโยชน์ของม้าน้ำ
ความเป็นมาของผักชีลาว
สรรพคุณของดอกอัญชัน
สรรพคุณของดอกทองพันชั่ง
สรรพคุณของว่านหางจระเข้
สรรพคุณของใบบัวบก
สรรพคุณของนมผึ้ง
สรรพคุณของต้นไหลเผือก
สรรพคุณของพลูคาว
ความเป็นมาขององุ่น
สรรพคุณของมังคุด
สรรพคุณของหัวไชเท้า
คุณสมบัติของต้น Wicth Hazal
 
 
 
 
 
 
เครื่องดื่มชนิดผงพร้อมชง
และเครื่องดื่มชนิดน้ำพร้อมดื่ม
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทั้งชนิดน้ำ
พร้อมดื่ม และชนิดแคปซูล
บรรจุแผง / ขวด
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไทยรัฐ
ข่าวสด
เดลินิวส
มติชน
สยามธุรกิจ
บ้านเมือง
แนวหน้า
กรุงเทพธุรกิจ
โพสต์ทูเดย
 
 
 
 
 
 
นฬปานชาดก
ตโยธัมมชาดก
วัณณุปถชาดก
ติตติรชาดก
วานรินทชาดก
มหิฬามุขชาดก
มหาอุกกุสชาดก
ติปัลลัตถมิคชาดก
มหาวาณิชชาดก
พระจูฬปันถกเถระ
พกชาดก
มุณิกชาดก
 
 
 
 

 
 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ผักชีลาวเป็นพืชล้มลุกตระกูลเดียวกับผักชี ลำต้นมีสีเขียวเข้มขนาดเล็ก
ลักษณะใบเป็นใบประกอบแบบขนนกมีสีเขียวสดออกเรียงสลับกัน ดอกมีขนาดเล็กสีเหลืองออกเป็นช่อ
ก้านช่อดอกมีลักษณะคล้ายกับซี่ร่ม ผลแก่เป็นรูปไข่แบนมีสีน้ำตาลอมเหลือง ถ้านำไปใช้เป็นเครื่องเทศ
จะเก้บได้ก้ต่อเมื่อดอกเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล แต่ส่วนใหญ่จะพบในรูปของการทานสดเป็นผักมากกว่า
ซึ่งควรเก็บก่อนที่จะออกดอก ผักชีลาวมีสองชนิด คือ ชนิดที่มาจากยุโรป (Dill) และชนิดที่มีกำเนิด
ในเอเชียเขตร้อน (Indian Dill) ในประเทศไทยมีการปลูกเพื่อใช้ทานเป็นผักมากกว่าปลูก
เพื่อใช้ผลมาทำเครื่องเทศเพราะมีคุณภาพน้อยกว่าประเทศอินเดีย
 
สารสำคัญที่พบ : ผลผักชีลาวมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งปริมาณน้ำมันที่ได้ขึ้นอยู่กับแหล่งเพาะปลูกและฤดูกาล
ที่เก็บเกี่ยว นอกจากนี้แล้วยังประกอบด้วย สารดิลลาโนไซด์ สารประเภทกรดฟีโนลิค โปรตีน ไขมัน เป็นต้น
 
คุณประโยชน์ : น้ำมันผักชีลาว (Dill seed oil) ได้จากการนำผลแก่แห้งไปกลั่นด้วยไอน้ำ
สารสำคัญที่พบคือ คารืโวน ดี-ไลโมนีน และอัลฟ่า-เฟลเลนดรีน สารอื่นที่มีปริมาณรองลงมาคือ
ไดไฮโดรคาร์โวน ยูจีนอล ไพนีน และอะนีโทล เป็นต้น
 
สรรพคุณทางยา : นำผลแก่แห้งของผักชีลาวบดให้เป็นผง ชงกับน้ำดื่มวันละ 4-5 แก้ว แก้อาการปวดท้อง
แน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยขับลมหรือใช้ต้นสดของผักชีลาวผสมกับนมให้เด็กอ่อน
ดื่มแก้ท้องอืดท้องเฟ้อได้เช่นกัน ส่วนน้ำมันมักใช้ผสมในยาย่อยอาหาร ยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
 
ที่มาของข้อมูล : www.thaiwikipedia.com ค้นหาคำว่า "ผักชีลาว"
 

 
ท้องอืด
 
ท้องอืด (Bloated stomach) คือภาวะที่ท้องเกิดอาการแน่นเนื่องจากมีแก๊สในกระเพาะอาหาร จนทำให้ท้องดูมีลักษณะบวม
ท้องอืดสามารถเกิดขึ้นกับทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งเมื่อเกิดอาการแล้วจะส่งผลให้ทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ไม่สะดวกเนื่องจากรู้สึกอึดอัดท้อง
ทั้งนี้หากอาการเป็นต่อเนื่องนาน ๆ โดยไม่มีสาเหตุ ควรไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจวินิจฉัย
 
อาการท้องอืด
อาการท้องอืด เป็นอาการที่ระบุลักษณะได้ยาก ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ที่มีอาการท้องอืดมักจะรู้สึกไม่สบายท้อง รู้สึกแน่น
นอกจากนี้ยังอาจมีอาการปวด และมีลมในกระเพาะอาหารเป็นจำนวนมาก จนทำให้เรอ หรือผายลมบ่อย
บ้างก็มีอาจได้ยินเสียงโครกครากภายในท้อง และมีอาการปวดท้องร่วมด้วย ทั้งนี้หากมีอาการผิดปกติที่รุนแรงเช่น อาเจียนไม่หยุด
อาเจียนเป็นเลือด อุจจาระเป็นเลือด หมดสติ ควรรีบไปพบแพทย์โดยทันที เพราะนั่นคือความผิดปกติที่อาจนำไปสู่อันตรายต่อสุขภาพได้
 
สาเหตุของอาการท้องอืด
- การกลืนอากาศเข้าไปในปริมาณที่มาก การอ้าปาก พูดคุย หัวเราะ หรือแม้แต่หายใจทางปากจะทำให้ลมเข้าไปอยู่ในท้องเป็นจำนวนมาก
  และจะไหลไปตามระบบลำไส้ จากนั้นจะถูกปล่อยออกด้วยการผายลม ซึ่งถ้าหากลมภายในช่องท้องมีมากเกินไป
  อาจทำให้เกิดท้องอืด และมีอาการสะอึกร่วมด้วยได้
- การรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีแก๊สหรือก่อให้เกิดแก๊ส อาหารเช่น ถั่ว บรอกโคลี เครื่องดื่มอัดแก๊ส หรือเบียร์
  จะทำให้เกิดการสะสมแก๊สในกระเพาะอาหารจนกลายเป็นอาการท้องอืด แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับสภาพระบบย่อยอาหารของแต่ละคนด้วย
- ท้องผูก อาการท้องผูกเป็นอีกหนึ่งสาเหตุของท้องอืดที่พบได้บ่อย แต่จะไม่ก่อให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร
- การรับประทานยาบางชนิด อาหารเสริมหลาย ๆ ชนิด ไม่ว่าจะเป็น ยาระงับอาการปวดชนิดเสพติด (Narcotic Pain Medications)
  วิตามิน อาหารเสริมธาตุเหล็ก หรือยารักษาอาการท้องผูกอีกหลาย ๆ ชนิด สามารถก่อให้เกิดผลข้างเคียงอย่างอาการท้องอืดได้
- การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน ระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงของผู้หญิงสามารถก่อให้เกิดภาวะก่อนมีประจำเดือน
   ซึ่ง 1 ในอาการของภาวะนี้จะทำให้ร่างกายมีน้ำเพิ่มขึ้น จนเป็นสาเหตุของอาการท้องอืดนั่นเอง
- ความอ่อนแอของผนังช่องท้อง ผนังช่องท้องที่อ่อนแอเนื่องมากจากการคลอดบุตร
   หรือการผ่าตัดช่องท้องสามารถก่อให้เกิดอาการท้องอืดได้
 
การรักษาอาการท้องอืด
- ลดปริมาณอากาศที่กลืนเข้าร่างกาย วิธีที่จะช่วยให้ผู้ป่วยกลืนอากาศเข้าไปทางปากก็คือ การเคี้ยวอาหารให้ช้าลง   
   หลีกเลี่ยงการเคี้ยวหมากฝรั่ง และห้ามใช้หลอดในการดูดเครื่องดื่มเป็นต้น
- จำกัดปริมาณการดื่มเครื่องดื่มอัดแก๊ส และมีน้ำตาลสูง เช่น น้ำอัดลม โซดา น้ำผลไม้ที่มีน้ำตาลมาก ๆ เป็นต้น
- หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร เช่น ถั่วชนิดต่าง ๆ และผักที่มีลักษณะเป็นหัว
  สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการท้องอืดจากการแพ้โปรตีนกลูเตน ควรหลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของข้าวสาลีทุกชนิด
  หากแพ้น้ำตาลแลกโตสก็ควรงดผลิตภัณฑ์จากนมเช่นกัน
- หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของสารให้ความหวานแทนน้ำตาล โดยสารให้ความหวานที่ควรงดคือ
  ซอลบิทอล (Sorbitol) เพราะผลิตจากน้ำตาลฟรุกโตสที่เป็นสาเหตุของอาการท้องอืด
- งดสูบบุหรี่ การเลิกสูบบุหรี่จะช่วยลดการกลืนอากาศเข้าร่างกายมากเกินไป อีกทั้งยังช่วยให้อาการท้องอืดหายไปได้
 
ภาวะแทรกซ้อนของอาการท้องอืด
ภาวะแทรกซ้อนของอาการท้องอืด อาจเกิดขึ้นได้ในขณะที่รู้สึกท้องอืด โดยอาการที่พบ ได้แก่ มีอาการเรอ
หรือมีเสียงโครกครากภายในท้อง นอกจากนี้ยังอาจมีการผายลมมากขึ้น และความอยากอาหารลดลง
รวมทั้งมีอาการอาหารไม่ย่อยอีกด้วย ทว่าในบางรายอาการท้องอืดที่มีสาเหตุมาจากความผิดของโรคซ่อน
อยู่อาจนำไปสู่อาการที่รุนแรงมากขึ้น เช่น อาการหัวใจวาย เป็นต้น
 
การป้องกันอาการท้องอืด
การป้องกันอาการท้องอืดสามารถทำได้ตั้งแต่การเลือกรับประทานอาหาร โดยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ก่อให้เกิดอาการท้องอืด
รวมทั้งหลีกเลี่ยงการเคี้ยวหมากฝรั่งบ่อย ๆ เพื่อไม่ให้ตัวเองกลืนอากาศเข้าไปมากจนผิดปกติ หากมีอาการท้องอืดบ่อย ๆ
เนื่องจากรับประทานอาหารมากเกินไป ควรลดปริมาณอาหารลง หรือย่อยมื้ออาหารจาก 3 มื้อ เป็น 5-6 มื้อ
เพื่อให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้อย่างเป็นปกติ นอกจากนี้ยังควรสำรวจความผิดปกติของร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
และควรรีบปรึกษาแพทย์หากมีอาการท้องอืดที่ผิดปกติ
 
คัดลอกข้อมูลบางส่วนจาก : https://www.pobpad.com/ท้องอืด
 

 
| หน้าแรก | ผลิตภัณฑ์ | ข้อมูลวิชาการ | วิธีการสั่งซื้อ - ชำระเงิน | วิธีการรับจ้างผลิตสินค้า | ติดต่อผู้ผลิต | กิจกรรมงานบุญ | เกี่ยวกับเรา | ติดต่อผู้แทนจำหน่าย |
 
aaa